×

คำเตือน

JFolder: :files: Path is not a folder. Path: /home/sithangoth/domains/sithan.go.th/public_html/2022/Sithan/Gallery/history
×

แจ้งให้ทราบ

There was a problem rendering your image gallery. Please make sure that the folder you are using in the Simple Image Gallery Pro plugin tags exists and contains valid image files. The plugin could not locate the folder: Sithan/Gallery/history

กองการศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม

กองการศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม

นายนุกูล หมายมี

ผู้อำนวยการกองการศึกษา ศาสนาและวัฒธรรม

เบอร์โทร 08-5141-5747

ข้าราชการครู

นางหอมไกล บุญหล้า

ครู คศ.2

นางสาวเจษฎาภรณ์ ป้องโล่ห์

ครู คศ.2

นางประครอง ป้องกัน

ครู คศ.1

นางส่อย จันเหลือง

ครู คศ 1

นางวรารัตน์ หนองหงอก

ครู คศ 1

นางลำพอง ส่งศรี

ครู คศ 1

พนักงานจ้างภารกิจ/ทั่วไป

นางนงนุช ธงไชย

ผู้ดูแลเด็ก (ผู้มีทักษะ)

นางรจนา ถี่ถ้วน

ผู้ดูแลเด็ก

นางสาวจีรนันท์ เข็มเพชร

ผู้ดูแลเด็ก

กองช่าง

กองช่าง

นายชนะชัย โสมณวัฒน์

ผู้อำนวยการกองช่าง

เบอร์โทร 08-1790-5179

พนักงานส่วนตำบล

นายอภิเดช บุญลักษณ์

นายช่างโยธาอาวุโส

เบอร์โทร 08-9625-1475

ลูกจ้างประจำ/พนักงานจ้างภารกิจ/ทั่วไป

นายวิรุณ ช่วงโชติ

ลูกจ้างประจำ (พนักงานประจำศูนย์สูบน้ำ)

นางบุญส่ง ป้องกัน

พนักงานจ้างทั่วไป (พนักงานประจำศูนย์สูบน้ำ)

กองคลัง

กองคลัง

นางสาวดวงพร บุญทศ

ผู้อำนวยการกองคลัง

เบอร์โทร 08-4390-3413

พนักงานส่วนตำบล

นางศริญญา ศิริแสง

นักวิชาการเงินและบัญชีชำนาญการ

เบอร์โทร 09-8586-9123

นางสาวดวงใจ ขยันทำ

นักวิชาการพัสดุชำนาญการ

เบอร์โทร 09-4514-4198

-ว่าง-

นักวิชาการจัดเก็บรายได้ปฏิบัติการ

สำนักงานปลัด

สำนักงานปลัด

นางสาวกรรณิกา บุญทศ

หัวหน้าสำนักปลัด

08-8553-1066

พนักงานส่วนตำบล

นางสาวสุมาลี ศรีอ่อน

นักวิเคราะห์นโยบายและแผน
ชำนาญการ

08-2907-2507

พนักงานจ้างภารกิจ/ทั่วไป

นางนภัสสร ภาคสุโพธิ์

ผู้ช่วยเจ้าพนักงานธุรการ

นางสาวนาทลัดดา ชอบศิลป์

ผู้ช่วยเจ้าพนักงานธุรการ

นายวุฒิไกร เข็มเพชร

คนงานทั่วไป

นายภานุชัย ไชยงาม

พนักงานขับรถยนต์

นายอิสระ จันใด

นักการภารโรง

ว่าง

คนงานทั่วไป

สภาองค์การบริหารส่วนตำบล

สภาองค์การบริหารส่วนตำบล

นายสุนทร สาลี

ประธานสภา

เบอร์โทร.08-9232-7095

นายลิขิต ป้องกัน

รองประธานสภา

เบอร์โทร.08-2152-3417

นางสาวณหฤทัย แก้วเศรษฐะ

ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล

เลขานุการสภา

เบอร์โทร.08-9579-4228

สมาชิกสภา

นายสำเริง ป้องกัน

ส.อบต. หมู่ที่ 1

เบอร์โทร.09-8226-2537

นายลิขิต ป้องกัน

ส.อบต. หมู่ที่ 2

เบอร์โทร.08-2152-3417

นางชุลีพร จันใด

ส.อบต. หมู่ที่ 3

เบอร์โทร.08-8595-3378

นายสุรสิทธิ์ จันเหลือง

ส.อบต. หมู่ที่ 4

เบอร์โทร.08-5515-7267

นายสุนทร สาลี

ส.อบต. หมู่ที่ 5

เบอร์โทร.08-92327-0095

นายดวงดี สีสด

ส.อบต. หมู่ที่ 6

เบอร์โทร.09-3550-3105

นางพยอม ผายพิมพ์

ส.อบต. หมู่ที่ 7

เบอร์โทร.08-3736-0344

นายสงคราม แสงส่อง

ส.อบต. หมู่ที่ 8

เบอร์โทร.08-3720-6471

นายล้วน บุญทศ

ส.อบต. หมู่ที่ 9

เบอร์โทร.09-8048-2769

คณะผู้บริหาร

คณะผู้บริหาร

นายไสว จันทร์เหลือง

นายกองค์การบริหารส่วนตำบลศรีฐาน
โทร. 08-1470-4520,09-0276-3330

นายจำปา ราชอาษา

รองนายกองค์การบริหารส่วนตำบลศรีฐาน
โทร. 08-8580-1980

นายประทีป คดเกี้ยว

รองนายกองค์การบริหารส่วนตำบลศรีฐาน
โทร. 09-3245-0402

นายสมาน ไวว่อง

เลขานุการนายก
องค์การบริหารส่วนตำบลศรีฐาน
โทร. 08-5208-7008

นางสาวณหฤทัย แก้วเศรษฐะ

ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลศรีฐาน
โทร. 08-9579-4228

นางจารุวรรณ สุรษร

รองปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลศรีฐาน
โทร. 08-6451-5949

ผู้อำนวยการ/หัวหน้าฝ่าย

นางสาวกรรณิกา บุญทศ

หัวหน้าสำนักปลัด

เบอร์โทร 08-8553-1066

นางสาวดวงพร บุญทศ

ผู้อำนวยการกองคลัง

เบอร์โทร 08-4390-3413

นายชนะชัย โสมณวัฒน์

ผู้อำนวยการกองช่าง

เบอร์โทร 08-1790-5179

นายนุกูล หมายมี

ผู้อำนวยการกองการศึกษา
ศาสนาและวัฒนธรรม

เบอร์โทร 08-5141-5747

นายบุญธรรม เหล่าบุญมา

ผู้อำนวยการกองสวัสดิการสังคม

เบอร์โทร 08-5656-6211

นางสาวจารุวรรณ สนองดี

รองปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล รักษาราชการแทนผู้อำนวยการกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม

เบอร์โทร 08-6451-5949

หัวหน้าส่วนราชการ

หัวหน้าส่วนราชการ

นางสาวณหฤทัย แก้วเศรษฐะ

ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล

เบอร์โทร 08-9579-4228

นางสาวจารุวรรณ สนองดี

รองปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล

เบอร์โทร 08-6451-5949

ผู้อำนวยการ/หัวหน้าฝ่าย

นางสาวกรรณิกา บุญทศ

หัวหน้าสำนักปลัด

เบอร์โทร 08-8553-1066

นางสาวดวงพร บุญทศ

ผู้อำนวยการกองคลัง

เบอร์โทร 08-4390-3413

นายชนะชัย โสมณวัฒน์

ผู้อำนวยการกองช่าง

เบอร์โทร 08-1790-5179

นายนุกูล หมายมี

ผู้อำนวยการกองการศึกษา
ศาสนาและวัฒนธรรม

เบอร์โทร 08-5141-5747

นายบุญธรรม เหล่าบุญมา

ผู้อำนวยการกองสวัสดิการสังคม

เบอร์โทร 08-5656-6211

นางสาวจารุวรรณ สนองดี

รองปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล รักษาราชการแทนผู้อำนวยการกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม

เบอร์โทร 08-6451-5949

อำนาจหน้าที่

      การพัฒนาท้องถิ่นขององค์การบริหารส่วนตำบลศรีฐาน นั้น เป็นการสร้างกระบวนการมีส่วนของชุมชนในการร่วมคิดร่วมแก้ไขปัญหา ตลอดจนร่วมสร้างร่วมส่งเสริมความเข้มแข็งของชุมชน ในเขตพื้นที่ขององค์การบริหารส่วนตำบลศรีฐาน ให้มีส่วนร่วมในการพัฒนาท้องถิ่นในทุกด้าน การพัฒนาองค์การบริหารส่วนตำบลศรีฐานจะสมบูรณ์ได้ จำเป็นต้องอาศัยความร่วมมือของชุมชน ในพื้นที่เกิดความตระหนักร่วมกันแก้ไขปัญหาและความเข้าใจในแนวทางแก้ไขปัญหาอย่างจริงจัง องค์การบริหารส่วนตำบลศรีฐาน ยังได้เน้นให้คนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา นอกจากนั้นยังได้เน้นการส่งเสริมและสนับสนุนให้การศึกษาเด็กก่อนวัยเรียน และพัฒนาเยาวชนให้พร้อมที่จะเป็นบุคลากรที่มีคุณภาพ โดยยึดกรอบแนวทางในการจัดระเบียบการศึกษา ส่วนด้านพัฒนาอาชีพนั้น จะเน้นพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนพึ่งตนเองในท้องถิ่น

 

      องค์การบริหารส่วนตำบลศรีฐาน กำหนดวิธีการดำเนินการตามภารกิจสอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนพัฒนาจังหวัด แผนพัฒนาอำเภอ แผนพัฒนาตำบล นโยบายของรัฐบาล และนโยบายของผู้บริหารท้องถิ่น ทั้งนี้สามารถวิเคราะห์ภารกิจให้ตรงกับสภาพปัญหา โดยสามารถกำหนดแบ่งภารกิจได้เป็น 7 ด้าน ซึ่งภารกิจดังกล่าวถูกกำหนดอยู่ในพระราชบัญญัติสภาตำบลและ องค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537( แก้ไขเพิ่มเติมจนถึงฉบับปัจจุบัน ) และตามพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 ดังนี้

 

ด้านโครงสร้างพื้นฐาน

  1. การจัดการและดูแลสถานีขนส่งทางบกและทางน้ำ มาตรา 67 (1)
  2. ให้มีน้ำเพื่ออุปโภค บริโภค และการเกษตร มาตรา 68 (1)
  3. ให้มีและบำรุงการไฟฟ้าหรือแสงสว่างโดยวิธีอื่น มาตรา 68 (2)
  4. ให้มีและบำรุงรักษาทางระบายน้ำ มาตรา 68 (3)
  5. การสาธารณูปโภคและการก่อสร้างอื่นๆ มาตรา 16 (4)
  6. การสาธารณูปการ มาตรา 16 (5)

 

ด้านส่งเสริมคุณภาพชีวิต

  1. ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ และผู้พิการ มาตรา 67 (6)
  2. ป้องกันโรคและระงับโรคติดต่อ มาตรา 67 (3)
  3. ให้มีและบำรุงสถานที่ประชุม การกีฬาการพักผ่อนหย่อนใจและสวนสาธารณะ มาตรา 68 (4)
  4. การสังคมสงเคราะห์ และการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็ก สตรี คนชรา และผู้ด้อยโอกาส มาตรา 16 (10)
  5. การปรับปรุงแหล่งชุมชนแออัดและการจัดการเกี่ยวกับที่อยู่อาศัย มาตรา 16 (2)
  6. การสาธารณสุข การอนามัยครอบครัวและการรักษาพยาบาล มาตรา 16 (19)

 

ด้านการจัดระเบียบชุมชน สังคม และการรักษาความสงบเรียบร้อย

  1. การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย มาตรา 67 (4)
  2. การคุ้มครองดูแลและรักษาทรัพย์สินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน มาตรา 68 (8)
  3. การผังเมือง มาตรา 68 (13)
  4. การรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง มาตรา 16 (17)
  5. การส่งเสริมประชาธิปไตย ความเสมอภาค และสิทธิเสรีภาพของประชาชน มาตรา 16 (5)

 

ด้านการวางแผน การส่งเสริมการลงทุน พาณิชยกรรมและการท่องเที่ยว

  1. ส่งเสริมให้มีอุตสาหกรรมในครอบครัว มาตรา 68 (6)
  2. ให้มีและส่งเสริมกลุ่มเกษตรกร และกิจการสหกรณ์ มาตรา 68 (5)
  3. บำรุงและส่งเสริมการประกอบอาชีพของราษฎร มาตรา 68 (7)
  4. ให้มีตลาด มาตรา 68 (10)
  5. การท่องเที่ยว มาตรา 68 (12)
  6. กิจการเกี่ยวกับการพาณิชย์ มาตรา 68 (11)
  7. การส่งเสริม การฝึกและการประกอบอาชีพ มาตรา 16 (6)

 

ด้านการบริหารจัดการและการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

  1. การคุ้มครอง ดูแลและบำรุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มาตรา 67 (7)
  2. รักษาความสะอาดของถนน ทางน้ำ ทางเดิน และที่สาธารณะ รวมทั้งฝอยและสิ่งปฏิกูล มาตรา 67 (2)
  3. การจัดการสิ่งแวดล้อมและมลพิษต่างๆ มาตรา 17 (12)

 

ด้านการศาสนา ศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่น

  1. บำรุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น มาตรา 67 (8)
  2. ส่งเสริมการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม มาตรา 67 (5)
  3. การจัดการศึกษา มาตรา 16 (9)
  4. การส่งเสริมการกีฬา จารีตประเพณี และวัฒนธรรมอันดีงามของท้องถิ่น มาตรา 17 (18)

 

ด้านการบริหารจัดการและการสนับสนุนการปฏิบัติภารกิจของส่วนราชการและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

  1. สนับสนุนสภาตำบลและองค์กรปกครองส่วนท้องงถิ่นอื่นในการพัฒนาท้องถิ่น
  2. ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่ทางราชการมอบหมายโดยจัดสรรงบประมาณหรืบุคลากรให้ตามความจำเป็นและสมควร มาตรา 67 (9)
  3. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของราษฎร ในการมีมาตรการป้องกัน มาตรา 16 (16)
  4. การประสานและให้ความร่วมมือในการปฏิบัติหน้าที่ขององค์การปกครองส่วนท้องถิ่น มาตรา 17 (3)
  5. การสร้างและบำรุงรักษาทางบกและทางน้ำที่เชื่อมต่อระหว่างองค์การปกครองส่วนท้องถิ่นอื่น มาตรา 17 (16)

 

สภาพทั่วไป

       องค์การบริหารส่วนตำบลศรีฐาน เป็น องค์การบริหารส่วนตำบลขนาดกลาง เป็นองค์ปกครองท้องถิ่น 1 ใน 6 องค์กรปกครองท้องถิ่น ในเขตปกครองของ อำเภอป่าติ้ว จังหวัดยโสธร  ตำบลศรีฐาน ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของอำเภอป่าติ้ว จังหวัดยโสธร โดยอยู่ห่างจากที่ว่าการอำเภอป่าติ้วประมาณ 12 กิโลเมตร และอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของ จังหวัดยโสธร 

 

เนื้อที่

      โดยตำบลศรีฐาน  ทั้งหมดประมาณ 28.16 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 17,601 ไร่ เป็นตำบลค่อนข้างเล็ก  

อาณาเขต

ทิศเหนือ      ติดกับ  ตำบลกระจาย และตำบลโพธิ์ไทร อำเภอป่าติ้ว จังหวัดยโสธร

ทิศใต้                        ติดกับ  ตำบลทุ่งมน  อำเภอคำเขื่อนแก้ว  จังหวัดยโสธร

ทิศตะวันออก               ติดกับ  ตำบลเชียงเพ็ง  อำเภอป่าติ้ว และตำบลเหล่าไฮ อำเภอคำเขื่อนแก้ว

 

ทิศตะวันตก  ติดกับ  ตำบลกระจาย      อำเภอป่าติ้ว  จังหวัดยโสธร

 

     5.1 การคมนาคมขนส่ง

                              1) ถนน

                              ตำบลศรีฐานอยู่ห่างจากทางหลวงหมายเลข  202  ถนนอรุณประเสริฐ  2  กิโลเมตร  ทางเข้าตำบลเป็นถนนคอนกรีตเสริมไม้ไผ่และมีถนนเชื่อมหมู่บ้านเป็นถนนลูกรัง  และลาดยาง

-         ถนนสายศรีฐาน  ถึง  คำเขื่อนแก้ว  ระยะทาง  14.5  กิโลเมตร  เป็นถนนลาดยาง

-         ถนนสายศรีฐาน  ถึง  บ้านกระจาย  ระยะทาง  1  กิโลเมตร  เป็นถนนลาดยาง

-         ถนนสายศรีฐาน  ถึง  บ้านเตาไหถึงบ้านกุดสำโรง  ระยะทาง  6  กิโลเมตร  เป็นถนนลาดยาง

-         ถนนสายศรีฐาน  ถึง  บ้านกุดสำโรง  ระยะทาง  4  กิโลเมตร  เป็น  ถนนลูกรัง

                              -    ถนนสายศรีฐาน  ถึง  บ้านคำสร้างบ่อ  ระยะทาง  4  กิโลเมตร  เป็นถนนลูกรัง  การคมนาคม

2) สะพาน   

จำนวนสะพานคอนกรีต                               3             แห่ง

จำนวนสะพานเหล็ก                                   0             แห่ง

จำนวนสะพานไม้                                      1             แห่ง

จำนวนสะพานอื่น ๆ                                   0             แห่ง

 

                              5.2 การไฟฟ้า

-   ไฟฟ้าที่ผลิตโดยการไฟฟ้านครหลวงหรือการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค คิดเป็นร้อยละ  100 ของพื้นที่

-   จำนวนครัวเรือนที่มีไฟฟ้าใช้                          1,787      ครัวเรือน

-   จำนวนครัวเรือนที่ไม่มีไฟฟ้าใช้                              0      ครัวเรือน

-   ไฟฟ้าส่องสว่างสาธารณะ                               130      จุด

                              5.3 การประปา

                              - จำนวนครัวเรือนมีน้ำประปาใช้                         1,787      ครัวเรือน

                              - จำนวนครัวเรือนที่ไม่มีน้ำประปาใช้          0        ครัวเรือน

                              - จำนวนประปาหมู่บ้าน                                       4        แห่ง

                              5.4 โทรศัพท์

ตู้โทรศัพท์สาธารณะ                    6             ตู้

                              5.5 ไปรษณีย์/การสื่อสาร/การขนส่งวัสดุ ครุภัณฑ์

ที่ทำการไปรษณีย์ประจำตำบล ตั้งอยู่บ้านศรีฐานหมู่ที่ 2   จำนวน  แห่ง

-  หอกระจายประจำหมู่บ้านครบ 9 หมู่บ้าน

                               5.6 อัตราการใช้ส้วม

                              - อัตราการมีและใช้ส้วมแบบราดน้ำ  ร้อยละ    65

                              - อัตราการมีและใช้ส้วมแบบชัดโคก  ร้อยละ    35

                                5.7 ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน

-  มีศูนย์อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (อปพร) จำนวน  1  แห่ง (ที่ทำการ อบต.ศรีฐาน)

-  มีอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (อปพร) จำนวน  112  คน

-  มีรถกู้ชีพ จำนวน 2 คัน และรถยนต์บรรทุกน้ำอเนกประสงค์ ขนาด 6,000 ลิตร จำนวน 1 คัน

6.  ระบบเศรษฐกิจ

 

 


       

                              6.1    การเกษตร

                              ในเขตตำบลศรีฐานประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทำนา ทำไร่ ทำสวน  เช่น การปลูกข้าวนาปี   โดยข้าวนาปีที่ปลูกเป็นข้าวเจ้าและข้าวเหนียว มันสำปะหลัง  ยางพารา  ข้าวโพดหวาน   เป็นต้น

                              6.2 การประมง

                              ในเขตพื้นที่ตำบลกระจายไม่มีพื้นที่ทำการประมงหรือเลี้ยงแบบกระซัง แต่มีการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจำหน่ายในบ่อดินหรือบ่อพลาสติก เช่น ปลานิล ปลาดุก เป็นต้น

                              6.3 การปศุสัตว์

                              ในเขตพื้นที่ตำบลศรีฐานส่วนใหญ่จะเลี้ยง  วัว ควาย  สุกร  เป็ด ไก่  เพื่ออุปโภคบริโภคในครัวเรือนและมีไว้จำหน่าย

                              6.4 การบริการ

ตารางแสดงหน่วยงานธุรกิจในองค์การบริหารส่วนตำบล

หมู่ที่

ชื่อหมู่บ้าน

ร้านค้า

โรงสี

ปั๊ม

น้ำมัน/แก๊ส

ร้านเน็ต

ร้านเสริมสวย

ร้านขายปุ๋ย

ร้านซ่อมรถ

/ทำสี/

ล้างรถ

จำ

หน่ายวัสดุ

โรงปั่น

นุ่น

ร้านผลิตน้ำส้มเกล็ดหิมะ

ลานซื้อยาง

พารา

เสาส่งสัญ

ญาณ

โทร

ศัทพ์

1

บ้านศรีฐาน

20

2

1

 

 

 

2

1

5

1

 

 

2

บ้านศรีฐาน

15

3

 

 

1

 

7

1

8

 

1

1

3

บ้านศรีฐาน

5

1

 

 

1

 

 

 

3

 

 

 

4

บ้านศรีฐาน

10

 

1

 

 

 

1

 

9

1

 

 

5

บ้านเตาไห

4

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

6

บ้านกุดสำโรง

2

4

 

 

 

 

2

 

 

 

 

 

7

บ้านเตาไห

10

3

 

 

 

 

 

 

 

 

 

1

8

บ้านศรีฐาน

9

 

1

1

1

 

2

 

1

 

 

 

9

บ้านศรีฐาน

9

 

 

1

 

 

 

 

4

 

 

1

รวม  9  หมู่บ้าน

84

13

3

2

3

-

14

2

30

2

1

3

หมายเหตุ  ข้อมูล  ณ  ตุลาคม 2559 (จากกองคลัง)

                              6.5 การท่องเที่ยว

-  อุทยานวานร(ดอนลิง)บ้านเตาไห  หมู่ที่ 5

-  บ่อโจ้โก้ บ้านศรีฐาน หมู่ที่ 3

-  เจดีย์หลวงปู่ฟ้ามืดวัดศรีฐานใน หมู่ที่ 1

-  มณฑปบรรจุพระบรมสารีริกธาตุวัดศรีฐานใน

 

20 

                              6.6 อุตสาหกรรม

                              -  มีการทำอุตสากรรมภายในตำบลในรูปแบบขนาดเล็ก เช่น ร้านค้าจำหน่ายหมอนขวานขิด บ้านศรีฐาน หมู่ที่ 1,2,3,4,8,9

 

                              6.7 การพาณิชย์/กลุ่มอาชีพ

- สหกรณ์เคดิตยูเนียนสถาบันการเงินตำบลศรีฐาน     จำนวน  1  แห่ง  ตั้งอยู่บ้านศรีฐาน หมู่ที่ 2

                              -  กลุ่มอาชีพ  มี            4  กลุ่ม 

                             

                       ตาราง  องค์กร/กลุ่มอาชีพในตำบลศรีฐาน

 

กลุ่ม

ที่ตั้ง

(หมู่ที่)

จำนวนสมาชิก (ราย)

กิจกรรม

1. กลุ่มทอผ้าสตรีหมู่ 4

หมู่ที่ 4

15

ทอผ้า ขาวม้า ผ้าพื้นบ้าน เพื่อจำหน่าย

2. กลุ่มวิสาหกิจชุมชนเลี้ยงโคแม่พันธุ์บ้านกุดสำโรง

หมู่ที่ 6

15

เลี้ยงโคแม่พันธุ์เพื่อจำหน่าย

3. กลุ่มอนุรักษ์เกษตรอินทรีย์

หมู่ที่ 7

15

จำหน่ายสินค้าเกษตรอินทรีย์

4. กลุ่มวิสาหกิจชุมชนโคเนื้อสร้างอาชีพศรีฐาน

หมู่ที่ 1

15

เลี้ยงโคเนื้อเพื่อจำหน่าย

 

6.8 แรงงาน

                              จากการสำรวจข้อมูลพื้นฐานพบว่า  ประชากรที่มีอายุ  ๑๕ ๖๐  ปี อยู่ในกำลังแรงงาน ร้อยละ  ๙๕  เมื่อเทียบกับอัตราส่วนกับจังหวัด ร้อยละ  ๗๓.๙๙  ซึ่งสูงกว่ามาก  แต่ค่าแรงในพื้นที่ต่ำกว่าระดับจังหวัด  โดยเฉพาะแรงงานด้านการเกษตร  ประชากรอายุระหว่าง  ๒๕ ๕๐ ปี บางส่วน ไปรับจ้างทำงานนอกพื้นที่  รวมทั้งแรงงานที่ไปทำงานต่างประเทศ  ปัญหาที่พบคือ ประชากรต้องไปทำงานนอกพื้นที่ในเมืองที่มีโรงงานอุตสาหกรรม  บริษัท  ห้างร้านใหญ่ๆ  เพราะในพื้นที่ไม่มีโรงงานอุตสาหกรรมที่มีการจ้างแรงงานเยอะ เพราะพื้นที่ส่วนมากเป็นที่อยู่อาศัย  ปัญหานี้ยังไม่สามารถแก้ไขได้

 

 

๗.  ศา      ปะเพณี  วัฒนธรรม

  7.1  การนับถือศาสนา

                              ประชาชนในตำบลศรีฐาน  จะนับถือศาสนาพุทธ  โดยมีศาสนสถาน  6  แห่ง  ดังนี้

 

ที่

ชื่อศาสนสถาน
สถานที่ตั้ง

จำนวนพระสงฆ์

บ้าน

หมู่ที่

พระ

เณร

ชี

รวม

1

วัดศรีฐานใน

ศรีฐาน

1

20

1

-

21

2

วัดศรีฐานนอก

ศรีฐาน

3

11

-

-

11

3

วัดศรีพัฒนาราม

ศรีฐาน

2

10

3

-

13

4

วัดดงศิลาเลข

ศรีฐาน

8

8

1

-

9

5

วัดโพธิธาราม

เตาไห

7

5

-

-

5

6

วัดชัยวาศรี

กุดสำโรง

6

2

-

-

2

รวม

56

5

-

61

 

8.2  ประเพณีและงานประจำปี

1) บุญกุ้มข้าวใหญ่  นิยมทำกันในเดือนยี่ หรือหลังจากการเก็บเกี่ยว มีการนำข้าวเปลือกมากองรวมกันทำบุญกุ้มข้าวใหญ่ โดยใช้ศาลากลางบ้านหรือศาลาโรงธรรมทุกครัวเรือนหาบข้าวเปลือกของตนออกมารวมกัน    กลางคืนมีการเจริญพระพุทธมนต์ รับศีลฟังเทศน์ มีมหรสพสมโภชน์ตอนเช้ามีการถวายอาหารและข้าวเปลือก การทำบุญกุ้มข้าวใหญ่จึงถือว่าได้บุญกุศลมาก

2) บุญข้าวจี่ หรือบุญเดือนสามทำโดยการนำข้าวเหนียวที่ปั้นโรยเกลือ ทาไข่ไก่ และจี่ไฟให้สุก เรียกว่าข้าวจี่ การทำบุญข้าวจี่มีคนนิยมทำกันมากเพราะถือว่าได้กุศลมากและเป็นกาละทานชนิดหนึ่ง 

3) บุญพระเวสน์ หรือบุญเดือนสี่ บุญที่มีการเทศน์พระเวสน์หรือมหาชาติเรียกบุญพระเวสน์หนังสือมหาชาติหรือเวสสันดรชาดกเป็นหนังสือชาดกที่แสดงจริยาวัตรของพระพุทธเจ้าคราวพระองค์เสวยพระชาติ  เป็นพระเวสสันดร  เป็นหนังสือเรื่องยาว มี 14 ผูก  บุญพระเวสสันดรกำหนดทำในเดือนสี่ 

4) ตรุษสงกรานต์  กำหนดเอาวันที่ 13 เป็นวันตรุษสงกรานต์ของทุกปี จะมีการรดน้ำพระพุทธรูป พระสงฆ์ และผู้หลักผู้ใหญ่ เรียกว่า สรงน้ำ การทำบุญมีให้ทาน เป็นต้น เกี่ยวแก่การสรงน้ำเรียกบุญสรงน้ำอีกอย่างหนึ่งว่าตรุษสงกรานต์ตรุษคือสิ้นสงกรานต์ คือการเคลื่อนย้าย ได้แก่ วันที่พระอาทิตย์เคลื่อนย้ายจากฤดูหนาวก้าวขึ้นสู่ฤดูร้อนในระยะนี้ เรียก ตรุษสงกรานต์ 

5) บุญบั้งไฟ  หรือเรียกว่า บุญเดือนหก การนำเอาดินประสิว (ขี้เจียมาคั่วผสมกับถ่าน เรียกว่าหมื่อ เอาหมื่อใส่ กระบอกไม้ไผ่ (ปัจจุบันพัฒนาเป็นท่อพลาสติกหรือท่อพีวีซี) ตำให้แน่น แล้วเจาะรู เรียกว่า บั้งไฟ    

6) บุญเข้าพรรษา การอยู่ประจำในอารามแห่งเดียวตลอด 3 เดือน ในฤดูฝน เรียกว่า เข้าพรรษาโดยปกติกำหนดเอาวันแรม 1 ค่ำ เดือน 8 เป็นวันเข้าพรรษา ซึ่งชาวบ้านจะมีการถวายผ้าอาบน้ำฝน ถวายเทียนพรรษา และมีการทำบุญ เป็นต้น

7) บุญออกพรรษา การออกจากเขตจำกัด ไปพักแรมที่อื่นได้ เรียกว่า ออกพรรษา พรรษาหมายถึงฤดูฝน ปีหนึ่งมี 4 เดือน คือ ตั้งแต่แรม 1 ค่ำ เดือน 8 ถึง ขึ้น 15 ค่ำเดือน 12 ในระยะ 4 เดือน 3 เดือนแรกให้เข้าพรรษาก่อน เข้าครบกำหนด 3 เดือน แล้วให้ออกอีก 1 เดือน ให้หาผ้าจีวรมาผลัดเปลี่ยนการทำบุญมีให้ทาน เป็นต้น 

22 

8.๓  ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภาษาถิ่น

                              ภูมิปัญญาท้องถิ่น  ประชาชนในเขตพื้นที่ได้อนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น  ได้แก่  วิธีการทอเสื่อจากต้นกก  สานแห

                              ภาษาถิ่น  ประชาชนส่วนใหญ่พูดภาษาอีสาน

 

8.๔  สินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึก

1) หมอนขวานผ้าขิด  ผลิตโดย กลุ่มสตรีหนอนขิดและกลุ่มผู้ผลิตบ้านศรีฐาน

2) สินค้าแปรรูปจากผ้าขิด ผลิตโดยกลุ่มผู้ผลิตบ้านศรีฐาน 

9. ทรัพยากรธรรมชาติ

 

 

  9.1 น้ำ 

-  จำนวนห้วย/หนอง/คลอง/บึง                         12           แห่ง/สาย

จำนวนคลองชลประทาน                              3            แห่ง

-  จำนวนบ่อบาดาลสาธารณะ                           -             แห่ง

-  จำนวนบ่อน้ำตื้นสาธารณะ                            50           แห่ง

-  จำนวนบ่อน้ำตื้นเอกชน                                -             แห่ง

-  สระน้ำกรมพัฒนาที่ดิน                                 -             แห่ง

-  ถังน้ำ คสล.                                                            -             แห่ง

 

9.2 ป่าไม้  ในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลศรีฐานไม่มีป่าไม้

9.3 ภูเขา  ในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลศรีฐานไม่มีภูเขา

9.4 คุณภาพของทรัพยากรธรรมชาติ

                        ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องจัดตั้งองค์การบริหารส่วนตำบลโดยมาตรา 80 และมาตรา 41 แห่งพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 บัญญัติให้จัดตั้งองค์การบริหารส่วนตำบล และให้โอนบรรดางบประมาณทรัพย์สิน สิทธิ สิทธิเรียกร้อง หนี้ และเจ้าหน้าที่ของสภาตำบลไปเป็นขององค์การบริหารส่วนตำบล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยจึงให้สภาตำบลต่อไปนี้จัดตั้งเป็นองค์การบริหารส่วนตำบล โดยให้มีชื่อตามลำดับที่องค์การบริหารส่วนตำบลนั้นตั้งอยู่ คือ (1345) สภาตำบล ศรีฐาน อำเภอป่าติ้ว จังหวัดยโสธร เป็นองค์การบริหารส่วนตำบลศรีฐาน

 

 

    

ประวัติความเป็นมา

ตราสัญลักษณ์

      องค์การบริหารส่วนตำบลศรีฐาน เป็นหน่วยงานบริหารราชการส่วนท้องถิ่น จัดตั้งตาม พ.ร.บ. สภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 ทั้งนี้ กระทรวงมหาดไทยได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับทั่วไป เล่มที่ 113 ตอนที่ 9 ง ลงวันที่ 19  มกราคม  2539  มีผลบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 30  เดือน มกราคม พ.ศ. 2539  และดำเนินการตามอำนาจหน้าที่เป็นไปตามระเบียบข้อบังคับและกฎหมายเพื่อบริหารจัดการ และพัฒนาท้องถิ่นของตนเอง ให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชน  องค์การบริหารส่วนตำบลศรีฐาน  ตั้งอยู่หมู่ที่  2  ตำบลศรีฐาน  อำเภอป่าติ้ว  จังหวัดยโสธร อยู่ห่างจากที่ว่าการอำเภอป่าติ้ว  ประมาณ 12 กิโลเมตร

 

{gallery}history{/gallery}

หน้าที่ 33 จาก 33

ช่องทางแจ้งเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ

-->

ขอเชิญร่วมตอบแบบประเมินผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก (EIT) ประจำปี 2566 องค์การบริหารส่วนตำบลศรีฐาน

การจัดการความรู้

การจัดการความรู้คืออะไร ?

Poll

ความพึงพอใจของท่าน ต่อการบริหารงาน และการให้บริการประชาชนของ องค์การบริหารส่วนตำบลศรีฐาน อยู่ในระดับใด ?
  • โหวต: (0%)
  • โหวต: (0%)
  • โหวต: (0%)
  • โหวต: (0%)
  • โหวต: (0%)
Total Votes:
First Vote:
Last Vote:

Map

สารสนเทศ สถ.

หน่วยงาน สถ.

ลิงค์น่าสนใจ